วันเสาร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

สปีซีส์ (Species)

  
 สปีชีส์ หรือ สปีซีส์ (Species)   หมายถึง กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เราเห็นว่ามีความคล้ายคลึงกันมาก ดังเช่น สปีชีส์ "พัฟฟิน" (Puffin) หมายถึง นกกลุ่มหนึ่งที่พบทั่วไปในแถบแอตแลนติกเหนือ พัฟฟินผสมพันธุ์ในโพรงบนพื้นดิน และมีจะงอยปากหลายสี ตีนสีส้ม และมีท่าเดินน่าขบขัน คำอธิบายเช่นนี้มีประโยชน์ แต่นักวิวัฒนาการแยกสิ่งมีชีวิตออกเป็นสปีชีส์ได้ด้วยวิธีที่ง่ายกว่านี้มาก กล่าวคือสิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกัน จะต้องผสมพันธุ์กันได้และมีลูกด้วยกันได้ พัฟฟิน
จะผสมกับพัฟฟินด้วยกันเอง มิใช่กับนกชนิดอื่น เพิ่มเติม

โรคภูมิแพ้

โรคภูมิแพ้(allergy)
    เป็นโรคไม่ติดต่อเพราะไม่ได้เกิดจากเชื้อจุลินทรีย์หรือไวรัส ไม่สามารถแพร่กระจายจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งได้ แต่โรคภูมิแพ้เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ที่ตอบสนองอย่างรุนแรงต่อสิ่งแปลกปลอมที่อยู่รอบๆ ตัว เช่น ละอองเกสรดอกไม้ ฝุ่น อาหาร เป็นต้น สิ่งที่เป็นสาเหตุให้ร่างกายเกิดปฏิกิริยาต่อต้านต่อสิ่งแปลกปลอม เราเรียกสิ่งนั้นว่า สารก่อภูมแพ้(allergen) และเมื่อมีสารภูมิแพ้นี้เข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นทางลมหายใจ ทางเดินอาหาร หรือ เพิ่มเติม

โรคเอดส์

โรคเอดส์ หรือ โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง(Acquired Immune Deficiency Syndome ; AIDS
    เป็นโรคที่เกิดจากการมีเชื้อไวรัส HIV เข้าสู่ร่างกาย แล้วไปขยายจำนวนอยู่ภายในเซลล์ที จนเซลล์ทีตายไปเป็นจำนวนมาก จากการที่ไวรัส HIV โจมตีระบบภูมิคุ้มกันนี้ทำให้คนเป็นโรคเอดส์ตายลงไปเป็นจำนวนมากเพราะร่างกายสูญเสียความสามารถในการต่อสู้โรค เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเหมือนเคย ร่างกายจึงอ่อนแอและเกิดโรคแทรกต่างๆ เช่น โรคปวดบวม(นิวมอเนีย) วัณโรค เยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรคเริม โรคท้องเสียเรื้อรัง เพิ่มเติม

ด่านที่3 : ระบบภูมิคุ้มกัน

ด่านที่3 : ระบบภูมิคุ้มกัน

เมื้อเชื้อโรคสามารถผ่านด่านที่สองได้แล้ว จะมีการกระตุ้นหน่วยป้องกันพิเศษ ไม่ว่าสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาจะทำให้เกดอาการเป็นไข้หรือไม่ก็ตาม ก็จะมีการตอบสนองแบบจำเพาะนี้เสมอ ซึ่งเป็นการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันเฉพาะโรคหนึ่งโรคใดที่เคยสัมผัสเท่านั้น เชื้อโรคบางชนิด เพิ่มเติม

ด่านที่ 2: แนวป้องกันโดยทั่วไป

ด่านที่ 2: แนวป้องกันโดยทั่วไป
          ถึงร่างกายจะมีกำแพงป้องกันที่แข็งแรงหนาแน่นเพียงใด แต่เชื้อโรคก็สามารถที่จะเล็ดลอดเข้าสู่ร่างกายและทำอันตรายต่อเซลล์ภายในได้ ทั้งนี้อาจเกิดขึ้นจากความรุนแรงของเชื้อโรคเอง หรือสภาวะร่างกายอ่อนแอ ตลอดจนการมีบาดแผลเกิดขึ้นกับส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เชื้อโรคเหล่านี้ก็

วันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

อยู่อย่างปลอดภัย

บทที่ อยู่อย่างปลอดภัย

1. การป้องกันและจำกัดเชื้อโรคของร่างกาย
 โดยปกติแล้วร่างกายของคนเรา มีกลไกในการป้องกันและกำจัดเชื้อโรคอยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งเปรียบเสมือนกับกำแพงเมือง ด่าน หรือป้อมปราการที่สร้างไว้สำหรับเป็นเครื่องกีดขว้างอ่านเพิ่มเติม

อยู่ดีมีสุข

บทที่1 บทที่อยู่ดีมีสุข
เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์
เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้  จึงต้องมีเครื่องมือที่ช่วยในการมองเห็น  คือ  กล้องจุลทรรศน์  การศึกษาเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ดำเนินมาอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการพัฒนาของกล้องจุลทรรศน์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น  จนสามารถทำให้มองเห็นส่วนประกอบต่างๆภายในเซลล์ได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น  ปัจจุบันการศึกษาเรื่องเซลล์ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว  จึงสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้มากมาย  ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์และทางการแพทย์อ่านเติมเพิ่ม